วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

กระดูกอ่อนฉลาม ในจ้อนท์แคร์


                      กระดูกอ่อนฉลาม ใน จ้อนท์แคร์(JONTKARE)
  
              กระดูกอ่อนของฉลาม ชื่อภาษาอังกฤษที่ว่า Shark cartilage ยังถูกนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ซึ่งสกัดมาจากส่วนหัวและครีบของฉลาม ว่ากันว่าส่วนที่เป็นโครงร่างกระดูกทั้งหมดของฉลามนั้นเป็นกระดูกอ่อน
     
ยค


      ในปี ค.ศ. 1992 กระดูกอ่อนปลาฉลามได้รับความนิยมในการเป็นทางเลือกของการรักษาโรคมะเร็ง โดยมีความเชื่อว่าฉลามเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยพบรายงานว่าเป็นมะเร็งเหมือนกับสัตว์ชนิดอื่นๆ ซึ่งเป็นไปได้ว่าฉลามมีระบบภูมิต้านทานพิเศษที่สามารถปกป้องตัวเองจากโรคร้ายนี้ เนื่องจากมันมีกระดูกอ่อนในปริมาณสูง 
     


                นอกจากนี้การที่ไม่พบหลอดเลือดในกระดูกอ่อน นำไปสู่สมมติฐานที่ว่าเซลล์กระดูกอ่อนสามารถผลิตสารที่สามารถยับยั้งการสร้างหลอดเลือด ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีในวงการแพทย์ว่า  กระบวนการสร้างหลอดเลือดใหม่หรือที่เรียกว่า Angiogenesis เป็นกลไกสำคัญของเซลล์มะเร็ง  ในการทำให้ตัวมันได้รับสารอาหารและออกซิเจนจากเลือดเพื่อให้มันเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นและแพร่ลามไปยังอวัยวะอื่นๆ ฉะนั้นการที่ค้นพบสารที่ยับยั้งกระบวนการนี้ได้ก็เป็นยุทธวิธีหนึ่งในการต่อสู้กับมะเร็ง ซึ่งการศึกษาพบว่ากระดูกอ่อนปลาฉลามมีสารที่มีคุณสมบัติยับยั้งกระบวนการนี้ด้วย ซึ่งเท่ากับว่าช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งนั่นเอง
    


            นอกจากนี้ยังพบแร่ธาตุแคลเซียม (Calcium) และฟอสฟอรัส (Phosphorus) ทำให้ปัจจุบันมีประยุกต์ใช้กระดูกอ่อนปลาฉลามทางด้านสุขภาพที่หลากหลาย เช่น ช่วยบรรเทาอาการจากโรคข้อเสื่อม ข้ออักเสบ บรรเทาอาการอักเสบของผิวหนัง เช่น โรคเรื้อนกวาง เป็นต้น
        


            กระดูกอ่อนปลาฉลามประกอบไปด้วย โปรตีนคอลลาเจน (Collagen) และสารในกลุ่มไกลโคสะมิโนไกลแคน      พบว่า กระดูก (Glycosaminoglycans) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารคอนดรอยติน (Chondroitin) ซึ่งมีผลในการบรรเทาหรือรักษาโรคข้อเสื่อม และสารในกลุ่มนี้บางชนิดยังมีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบและกระตุ้นภูมิคุ้มกันอีกด้วยรวมไปถึงการเสริมความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของโปรตีนคอลลาเจนและอีลาสตินในชั้นหนังแท้ จึงมีส่วนสำคัญในการทำให้ผิวของคนเรานุ่มชุ่มชื้น มีความยืดหยุ่น ผิวเต่งตึงกระชับ ซึ่งเป็นคุณลักษณะของผิว เมื่อยังเยาว์วัยที่เราปรารถนาเป็นเจ้าของ
    


        ประโยชน์ของกระดูกอ่อนปลาฉลาม (Shark Cartilage)     มีมากมาย
 
1.  ป้องกันมะเร็งโดยสาร Glucoaminoglycans (GAGs) พบในกระดูกอ่อนปลาฉลาม จะมีผลยับยั้งการสร้างเส้นเลือดฝอยใหม่ๆที่จะไปเลี้ยงเซลล์ที่ผิดปกติหรือเซลล์มะเร็ง (Antiangiogenesis) ทำให้เซลล์เหล่านั้นขาดสารอาหารและไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปได้อีก




2.  ช่วยบรรเทาอาการปวด อักเสบในผู้ป่วยโรคไขข้อรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)
3.  มีคอลลาเจน (Collagen) และคอนดรอยติน ซัลเฟต (Chondroitin Sulfate)  
4.  เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้แข็งแรง


      
       ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
        การป้องกันข้อเสื่อม ผู้ป่วยควรรู้จักการปฏิบัติตัวที่จะไม่ทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น เช่น การวิ่ง นังพับเพียบในรายที่มีข้อเข่าเสื่อม หลีกเลี่ยงการยกของหนัก ในรายที่อ้วยมาก ก็ช่วยลดแรงน้ำหนักตัวที่กระทำต่อข้อได้เช่นกัน นอกจากนี้การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น ไม้เท้า จะช่วยลดการถ่ายแรงที่กระทำต่อข้อของขาได้
          จ้อนท์แคร์(jontkare) เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน 100% เห็นผลจริง รวดเร็ว ชัดเจน จึงขายดีที่สุดในขณะนี้

       ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์ (JONTKARE) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเข่าเสื่อมได้ผลจริง  
    อย. 13-1-02950-1-0014
ปริมาณและราคา 
            1 ขวดบรรจุ 30 เม็ด ราคา 1,320 บาท
ดูข้อมูลที่   http://jontkare-mirvalai.blogspot.com
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
         คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ    โทร.    082-0571981, 
                                                            097-3983248
ID Line : valai1981
อีเมล์ : kprimss@gmail.com





โรคข้อเข่าเสื่อม เราป้องกันได้


                        โรคข้อเข่าเสื่อม เราป้องกันได้
  


                            
      การปฏิบัติตัวเพื่อหลีกเลี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม เช่นการนอนกับพื้นเป็นประจำ เพราะขณะลุกขึ้นหรือลงนอนจะเกิดอันตรายกับเข่า หลีกเลี่ยงการขึ้นบันไดบ่อย ๆ ควรจะนั่งบนเก้าอี้ไม่ควรนั่งบนพื้น
  

   *  เวลาเดินหรือวิ่ง ให้ใส่รองเท้าสำหรับเดินหรือวิ่งซึ่งจะมีพื้นกันกระแทก
   * เวลาขื้นบันไดให้ก้าวข้างดีขึ้นก่อน เวลาลงให้ก้าวข้างปวดลงก่อน มือจับราวบันได
   * ใช้ไม้เท้าค้ำเวลาจะลูกขึ้น อย่าหยุดใช้งาน
   * การออกกำลังกายและการบริหารกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะการบริหารกล้ามเนื้อต้นขาจะทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง จะช่วยลดแรงที่กระทำต่อเข่า วิธีการบริหารสามารถทำได้โดยการยืน มือเกาะกับเก้าอี้ ย่อตัวให้เข่างอเล็กน้อย นับ 3-6 ครั้ง แล้วยืนตรงทำช้ำ 3-6 ครั้ง หรืออาจจะทำได้โดย นั่งบนเก้าอี้เหยียดขาเกร็งไว้ 10 วินาที่แล้วจึงงอเข่า ทำซ้ำหลายครั้ง นอกจากนั้นการเดินเร็วหรือการไหว้น้ำจะช่วยกระตุ้นให้กระดูกแข็งแรง
       


    * ให้ใช้เข่าเหมือนปกติ หากมีอาการปวดให้พักเข่า   
   
    * ประคบอุ่นเวลาปวดเข่า   
    * การทำกายภาพบำบัด แพทย์จะแนะนำวิธีการบริหารกล้ามเนื้อและข้อเข่าเพื่อลดอาการปวด ป้องกันข้อผิดรูป รวมทั้งทำให้กล้ามเนื้อและกระดูกแข็งแรง ที่สำคัญต้องปฏิบัติเป็นประจำจึงจะได้ผลดี

      
    
         ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
       การป้องกันข้อเสื่อม ผู้ป่วยควรรู้จักการปฏิบัติตัวที่จะไม่ทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น เช่น การวิ่ง นั่งพับเพียบในรายที่มีข้อเข่าเสื่อม หลีกเลี่ยงการยกของหนัก ในรายที่อ้วนมาก ก็ช่วยลดแรงน้ำหนักตัวที่กระทำต่อข้อได้เช่นกัน นอกจากนี้การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น ไม้เท้า จะช่วยลดการถ่ายแรงที่กระทำต่อข้อของขาได้

       
  จ้อนท์แคร์(jontkare) เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน 100% เห็นผลจริง รวดเร็ว ชัดเจน จึงขายดีที่สุดในขณะนี้
   ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
   
   อย. 13-1-02950-1-0014
   ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 30 เม็ด ราคา 1,320 บาท
   ดูข้อมูลที่   http://jontkare-mirvalai.blogspot.com
  สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
  คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ    โทร.   082-0571981, 
                                                    097-3983248
ID Line : valai1981
อีเมล์  : kprimss@gmail.com    

โรคข้อเสื่อมภัยเงียบที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง


            โรคข้อเสื่อมภัยเงียบที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง
   
 ข้อเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากการสึกของกระดูกอ่อนผิวข้อ มีกระดูกงอกอยู่ที่ขอบข้อ กระดูกผิวข้ออาจลอกหลุด ทำให้ข้อเคลื่อนไหวได้น้อยลง มีอาการปวดในข้อ ข้อผิดรูปร่าง ทำให้เกิดความไม่มั่นคงและรับน้ำหนักไม่ไหว



 โรคข้อเสื่อมคืออะไร?
         โรคที่มีความผิดปกติที่กระดูกอ่อนผิวข้อและกระดูกบริเวณใกล้ข้อ  มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกอ่อนผิวข้อทั้งทางด้านรูปร่าง ทางด้านโครงสร้าง ทางด้านชีวะเคมี และทางด้านชีวะพลศาสตร์   กระดูกอ่อนผิวข้อจะบางลง ทำให้การทำงานของกระดูกอ่อนผิวข้อเสียไป เช่น
       1. หน้าที่ในด้านการกระจายแรงที่มาผ่านข้อ เสียไป
       2. หน้าที่ในการให้กระดูกเคลื่อนผ่านกันอย่างนุ่มนวลเสียไป ทำให้เกิดเสียงเวลาเคลื่อนไหว
       3. มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกที่อยู่ใกล้ข้อ เช่นมีกระดูกงอกออกทางด้านข้างของข้อ (maginal osteophyte)
       4. กระดูกใต้ต่อกระดูกอ่อนมีการหนาตัวขึ้น ทำให้เกิดอาการต่างๆ ของข้อ เช่น ปวดข้อ ข้อฝืด ข้อแช็ง มีเสียงดังที่ข้อ เวลาที่ข้อมีการเคลื่อนไหว
       5. องศาของการเคลื่อนไหวของข้อลดลง ข้อโตขึ้นถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องจะเกิดการพิการตามมา เช่น ข้อหลวม ข้อโก่ง ข้อบิดเบี้ยว รูปร่างของข้อผิดไป
      

 สาเหตุของข้อเสื่อมคืออะไร?    
       
         การเสื่อมของเนื้อเยื่อ และอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งเป็น เปลี่ยนแปลงตามอายุ แต่ผลการศึกษาต่อมาพบว่า อาจเป็นผลมาจากสาเหตุทางพันธุกรรมสาเหตุอื่นๆ ที่อาจมีส่วนร่วมในการ เกิดโรคข้อเสื่อม ได้แก่ การใช้ข้อทำงานมากเกินไป หรือเป็นภายหลังการเกิดข้ออังเสบชนิดอื่นๆ ภาวะอ้วน แม้จะไม่ได้เป็น สาเหตุของโรคข้อเสื่อมโดยตรง แต่ก็เป็นส่วนช่วยส่งเสริมให้เป็นมากขึ้น
   


 ทราบได้อย่างไรว่าเป็นข้อเสื่อม?
         อาการปวดมักเริ่มจากอาการปวดตอนเช้า เมื่อบริหารแล้วอาการปวดลดลง หากเป็นมากขึ้นการออกกำลังจะทำให้ปวดมากขึ้น ข้อขยับได้น้อยลง เวลาขยับเกิดเสียงกระดูกเสียดสี ข้อโตขึ้น เนื่องจากมีการสร้างกระดูกที่งอกบริเวณขอบข้อ เอ็นและเนื้อเยื่อหนาตัวขึ้นทำให้เกิดข้อผิดรูป กล้ามเนื้อรอบข้ออ่อนแรงเวลาเคลื่อนไหว จะทำให้ปวดมากขึ้น

ท่านมีอาการข้อเสื่อมหรือไม่...สังเกตอย่างไร?   

        ในรายที่เริ่มเป็นโรคข้อเสื่อมอาจตรวจไม่พบความผิดปกติ ในรายที่เป็นมานาน จะเริ่มมีโครงสร้างของข้อผิดปกติ ควรเริ่มสังเกตอาการ ใส่ใจดูแลรักษาแต่แรก เพราะยิ่งทิ้งไว้นาน อาการปวดและทรมานจะยิ่งมากขึ้น จนข้อเสื่อมถาวรต้องได้รับการผ่าตัด


อาการข้อเสื่อมเป็นอย่างไร ?
          1. มีเสียงดังในข้อขณะเคลื่อนไหว เหมือนผิวของกระดูกเสียดสีกัน
          2. ข้อบวมหรือข้อโตขึ้น โดยเฉพาะข้อนิ้วมือเหมือนมีกระดูกงอกบริเวณข้อด้านหลังนิ้ว
          3. กดเจ็บ ในรายที่มีข้ออักเสบ ปวดขณะเคลื่อนข้อ หรือเวลากดกระดูกข้างข้อที่โตแล้ว
          4. องศาการเคลื่อนไหวของข้อลดลง เมื่อทิ้งไว้นานการเคลื่อนไหวของข้อยิ่งลดลงมากทำให้สูญเสียการทำงาน


                 5. ข้อผิดรูปหรือพิการ เช่น ข้อเข่าโก่ง
             6. ความมั่นคงของข้อเสียไป เช่น ข้อหลวม
             7. การเดินผิดปกติ เช่น เดินกระเผลก
             8. กล้ามเนื้อรอบข้อลีบเล็กลง
             9. มีอาการข้อฝืด เช่น นั่งท่าเดียวนาน ๆ จะมีความรู้สึกฝืด เคลื่อนไหวไม่คล่อง

ใครบ้างที่มีโอกาสเป็นข้อเสื่อม?
                1. เพศหญิง จะมีโอกาสเกิดข้อเสื่อมมากกว่าเพศชาย และมักพบข้อเสื่อมบริเวณเข่า
และมือใน ขั้นรุนแรง
                2. ผู้สูงอายุ ตั้งแต่อายุ 40 ขึ้นไป โดยเฉพาะในช่วยวัยทอง จะมีการสึกกร่อนของข้อมากที่สุด
            3. นักกีฬา จะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุบริเวณข้อ
            4. ผู้มีน้ำหนักตัวยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเกิดข้อเข่าเสื่อมมาก
            5. พ่อค้า แม่ค้า มักพบโรคข้อเสื่อมของข้อเข่า
            6. ชาวไร่ ชาวนา มักพบข้อเสื่อมบริเวณบั้นเอว
            7. แม่บ้านพบข้อนิ้วเสื่อมมากที่สุด

การรักษาข้อเสื่อม
        
       
            ผลิตภัณท์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
        การป้องกันข้อเสื่อม ผู้ป่วยควรรู้จักการปฏิบัติตัวที่จะไม่ทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น เช่น การวิ่ง นั่งพับเพียบในรายที่มีข้อเข่าเสื่อม หลีกเลี่ยงการยกของหนัก ในรายที่อ้วนมาก ก็ช่วยลดแรงน้ำหนักตัวที่กระทำต่อข้อได้เช่นกัน นอกจากนี้การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น ไม้เท้า จะช่วยลดการถ่ายแรงที่กระทำต่อข้อของขาได้
        การใช้ยา มียาลดความเจ็บปวดและยารักษาข้ออักเสบมากมาย ที่แพทย์ได้นำมาใช้ในการรักษาข้อเสื่อม ผู้ป่วยแต่ละราย จะตอบสนองต่อยาแต่ละชนิด ไม่เท่ากัน ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ยาเหล่านี้ พึงระลึกไว้เสมอว่า ยาเหล่านี้ ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงโรคข้อเสื่อม ให้หายเป็นปกติได้ แต่จะช่วยลดความเจ็บปวด หรืออาการอักเสบของข้อง ส่งเสริมให้ ผู้ป่วยได้ออกกายบริหารเพื่อเพิ่ม ความแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อได้มากขึ้น
       การผ่าตัด เป็นวิธีสุดท้าย ที่จะนำมาใช้ในการรักษาโรคข้อเสื่อม ในรายที่ได้รับการรักษาดังกล่าว ข้างต้น แล้วไม่ได้ผล การผ่าตัด จะช่วยป้องกัน หรือ แก้ไขความผิดปกติจากโรคข้อเสื่อม ลดความเจ็บปวด และทำให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวข้อได้ดีขึ้น การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ จะช่วยเหลือผู้เป็นโรคข้อเสื่อมในระยะสุดท้ายได้ การผ่าตัดจะได้ผลดีขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ โดยขึ้นอยู่กับชนิดของการผ่าตัด การรักษาทางยา ร่วมกับกายภาพบำบัด ก่อนและภายหลังการผ่าตัด และที่สำคัญที่สุด คือ ตัวผู้ป่วยเองในการให้ความร่วมมือในการรักษาดังกล่าวข้างต้น
  จ้อนท์แคร์(Jontkare)เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน 100% เห็นผลจริงรวดเร็ว ชัดเจน จึงขายดีที่สุดในขณะนี้

      ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
อย. 13-1-01950-1-0014
ปริมาณและราคา 
              1 ขวดบรรจุ 30 เม็ด ราคา 1,320 บาท
ดูข้อมูลที่   http://jontkare-mirvalai.blogspot.com
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
          คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ  โทร.    082-0571981, 
                                                           097-3983248
ID Line : valai1981
อีเมล์      : kprimss@gmail.com     

วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2557

โรดกระดูกพรุนและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค


         โรคกระดูกพรุนและปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
     


        โรคกระดูกพรุน   หมายถึง โรคที่กระดูกมีเนื้อกระดูกลดลง ทำให้กระดูกเปราะบางและหักง่าย
    


    อาการของโรคกระดูกพรุน  ส่วนใหญ่ไม่มีอาการจนกว่าจะสูงอายุ หลังอาจจะงอลง เตี้ยลง และมีกระดูกหักง่ายแม้มีการบาดเจ็บไม่รุนแรง
  
    
   ปัจจัยที่ทำให้เกิดกระดูกพรุน
      1.  อาหาร : อาหารที่มีแคลเซียมต่ำ ดื่มกาแฟมาก ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์มาก
      2.  การดำเนินชีวิต : ขาดการออกกำลังกาย
      3.  กรรมพันธุ์ : พบในคนผิวขาวมากกว่าคนผิวดำ คนผอมสูงมากกว่าคนอ้วน หญิงมากกว่าชาย
      4.  ฮอร์โมนเพศลดลง : ผู้หญิงที่หมดประจำเดือน ผู้หญิงที่ตัดรังไข่ออก จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน
      5.  อายุมากขึ้น
      6.  การใช้ยาบางชนิดประจำ เช่น ใช้ยาสเตียรอยด์ Predinisone 7.5 mg ติดต่อกันทุกวันนานเกินกว่า 3 เดือน ยา Heparin ยาเคมีบำบัดรักษาโรคมะเร็ง

 




  การวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน
         1.ในกรณีมีปัจจัยเสี่ยง ทำการตรวจวัดเอ็กซเรย์ความหนาแน่นกระดูกที่สะโพก , กระดูกสันหลัง โดยใช้อุปกรณ์ มาตรฐาน Dual Energy X-ray Absorptio metry (DEXA)
         2. กระดูกหักง่าย จากการบาดเจ็บไม่รุนแรง


         3. การใช้เครื่องวัดกระดูกทั่วไปชนิด Ultrasound ที่ใช้วัดกระดูกส้นเท้า กระดูกข้อมือ ถ้ามีกระดูกพรุนหรือบาง ต้องตรวจยืนยันโดยเครื่องวัดความหนาแน่นกระดูกชนิด DEXA ก่อน จึงมั่นใจได้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุนหรือบาง 
การวัดความหนาแน่นกระดูกตามเกณฑ์ของ WHO
กระดูกปกติ T-Score มากกว่าหรือเท่ากับ -1
กระดูกบาง T-Score -1 ถึง -2.5
กระดูกพรุน T-Score น้อยกว่าเท่ากับ -2.5
    
    
    การรักษาโรคกระดูกพรุน
         1. ได้รับแสงแดดอย่างน้อย 15 นาที / วัน
         2.  ประทานแคลเซียมให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
             - อาหารที่เหมาะสม : นม ถั่งเหลือง เต้าหู้ งาดำ ผักใบเขียว ฯลฯ
             - ยาแคลเซียม : 800 –1000 มิลลิกรัม / วัน

         3.  ควบคุมน้ำหนักให้พอเหมาะ 

             4 .  ออกกำลังกายที่มีการรับน้ำหนัก เช่น เดิน วิ่ง แอโรบิค มวยจีน เต้นรำ
          5.  ลดพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่
        - สูบบุหรี่
        - ดื่มกาแฟจัด และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
        - ดื่มสุราจัด


        6.  หลีกเลี่ยงยาที่เสี่ยง เช่น ยาสเตียรอยด์ (บางครั้งพบในยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาจีน)
            - แคลเซียม
            - ยาป้องกันการสลายกระดูก Bisphosphonate: Aledronate Risendronate, Ibandronate
            - ยาที่ออกฤทธิ์ทั้งป้องกันการสลายกระดูกและเพิ่มการสร้างกระดูก : วิตามิน D , วิตามิน K 2 , Strontium Ranelate




      ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคเก๊าท์ ได้ผลจริง
     จ้อนท์แคร์(jontkare) เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน 100%
เห็นผลจริง รวดเร็ว ชัดเจน จึงขายดีที่สุดในขณะนี้


      ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
อย. 13-1-01950-1-0014
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 30 เม็ด ราคา 1,320 บาท
ดูข้อมูลที่   http://jontkare-mirvalai.blogspot.com
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ    โทร.   082-0571981 , 
                                                  097-3983248
ID Line : valai1981
อีเมล์  :  krimss@gmail.com