วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557

คำเตือนเรื่องข้อกระดูกเเสื่อม...จากหหมอ


   คำเตือนเรื่องโรคข้อกระดูกเสื่อม….จากหมอ       



          หมอเตือนโรคข้อกระดูกเสื่อม พบในคนอายุน้อยลงจาก

เดิม 60 ปี ขึ้นไป เหลือเพียง 45-50 ปี จากภาวะอ้วนทำให้ข้อเข่า

แบกรับน้ำหนักเกิน เล่นกีฬาหักโหมเกินไป โดยเฉพาะฟุตบอล 

ให้หลีกเลี่ยงการคุกเข่า-ขัดสมาธิ-นั่งยอง ๆ



        รศ.พญ.วิไล คุปต์นิรัตศัยกุล หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า โรคข้อเสื่อม เป็นโรคที่กระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อเกิดความผิดปกติ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อทั้งทางด้านรูปร่าง โครงสร้าง และทางเคมี โดยปกติกระดูกอ่อนจะมีความยืดหยุ่น ทำหน้าที่ลดแรงที่กระทำต่อข้อกระดูก และทำให้ข้อเคลื่อนไหวด้วยความราบรื่น เมื่อกระดูกอ่อนเสื่อมกระดูกแท้จะเสียดสีกันทำให้เกิดความเจ็บปวด และเกิดเสียงดัง จนทำให้สูญเสียหน้าที่ในการเคลื่อนไหว รับน้ำหนัก และกระจายแรง ซึ่งภาวะข้อกระดูกเสื่อมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้น

         รศ.พญ.วิไล กล่าวว่า สำหรับสถิติของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมพบประมาณ 1 ใน 3 หรือคิดเป็นร้อยละ 34.5-45.6 ของประชากรทั้งประเทศ โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป แต่ปัจุจบันพบเร็วขึ้นอายุประมาณ 45-50 ปี เนื่องจากมีปัจจัยส่งเสริม เช่น ภาวะอ้วน ทำให้ข้อเข่าแบกรับน้ำหนักเกิน หรือการนั่งยอง ๆ นั่งพับเพียบ รวมทั้งกรณีประสบอุบัติเหตุ หรือการเล่นกีฬาหักโหมเกินไป  อย่างการเล่นฟุตบอล เป็นต้น นอกจากปัจจัยด้านอายุ พันธุกรรม และปัจจัยส่งเสริมดังกล่าวแล้ว ยังพบว่า การเปลี่ยนแปลงในกระดูกอ่อนจากโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ การติดเชื้อในข้อ หรือโรคเกาต์ ก็มีส่วนทำลายกระดูกอ่อนผิวข้อให้เสื่อมเร็วยิ่งขึ้น


         อย่างไรก็ตาม แม้ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ แต่สามารถลดอาการปวดได้ เช่น การทำกายภาพบำบัด การบริหารกล้ามเนื้อเข่า การใช้ยา  และการผ่าตัด
         รศ.พญ.วิไล กล่าวอีกว่า การใช้ยาในปัจจุบันก็สะดวกมากขึ้น โดยมีผงชงละลายน้ำกลูโคซามีน ซัลเฟต สำหรับดื่มวันละ 1 ครั้ง เพื่อช่วยชะลอการสึกหรอของกระดูกอ่อนผิวข้อ และช่วยบรรเทาอาการปวดของโรคข้อเสื่อม แต่ต้องร่วมกับการบริหารกล้ามเนื้อเข่า หรือกายภาพบำบัด อย่างไรก็ตาม แนวทางสำคัญควรป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคให้ช้าที่สุด โดยควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วนเกินไป หลีกเลี่ยงการคุกเข่า ขัดสมาธิ หรือนั่งยอง ๆ รวมทั้งการขึ้นลงบันไดบ่อย ๆ  โดยไม่จำเป็น และควรบริหารกล้ามเนื้อเข่าให้แข็งแรง เพราะจะช่วยให้การใช้งานข้อเข่าดียิ่งขึ้น โดยเลือกการออกกำลังกายที่เหมาะสม เช่น การเดิน การปั่นจักรยาน หรือการออกกำลังกายในน้ำ เป็นต้น
         
"ทางที่ดีที่สุดต้องรู้จักดูแลตัวเอง อย่าใช้งานพวกข้อเข่ามากจนเกินไป เพราะจะทำให้เสื่อมเร็วขึ้น ที่สำคัญหากป่วยด้วยโรคข้อเข่าเสื่อม จะมีอาการตั้งแต่ข้อฝืด ไปจนกระทั่งปวดบริเวณข้อ จนไม่สามารถเดิน หรือเคลื่อนไหวไปไหนได้" หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู กล่าว 




อาการของโรค ข้อเข่าเสื่อม
         โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่พบในผู้ป่วยสูงอายุ แต่ผู้ป่วยที่มีโรคข้อเรื้อรังเช่นโรครูมาตอยด์ โรคเกาต์ หรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่า ก็อาจจะเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมในขณะที่อายุยังไม่มาก โดยเฉพาะคุณผู้หญิงจะมีโอกาสเป็นข้อเสื่อมได้มากกว่าผู้ชาย เนื่องจากความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ชาย
อาการที่สำคัญได้แก่
         1. มีเสียงในข้อ เมื่อเคลื่อนไหวผู้ป่วยจะรู้สึกมีเสียงในข้อและปวดเข่า
             2. อาการปวดเข่า เป็นอาการที่สำคัญเริ่มแรก จะปวดเมื่อยตึงทั้งด้านหน้าและด้านหลังของเข่า หรือบริเวณน่อง เมื่อเป็นมากขึ้นจะปวดบริเวณเข่าเมื่อมีการเคลื่อนไหว ลุกนั่งหรือเดินขึ้นบันไดไม่คล่องเหมือนเดิม




         3.คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gifอาการบวม ถ้าข้อมีการอักเสบก็จะเกิดข้อบวม
         4.คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gifข้อเข่ายึดติด ผู้ป่วยจะไม่สามารถเหยียดหรืองอขาได้สุดเหมือนเดิม เนื่องจากมีการยึดติดภายในข้อ
         5.คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gifข้อเข่าโก่งงอ อาจจะโก่งด้านนอกหรือโก่งด้านใน ทำให้ขาสั้นลงเดินลำบากและมีอาการปวดเวลาเดิน















ปัจจัยที่ทำให้เกิด ข้อเข่าเสื่อม
         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif เพศหญิงจะเป็น โรคเข่าเสื่อม มากกว่าผู้ชาย 2 เท่า
         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif การใช้ข้อเข่า ผู้ที่นั่งยอง ๆ นั่งขัดขัดสมาธิ หรือนั่งพับเพียบนาน ๆ จะพบข้อเข่าเสื่อมเร็ว
         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif อายุ อายุมากมีโอกาสเป็นมากเนื่องจากอายุการใช้งานมาก ยิ่งน้ำหนักตัวมากข้อเข่าจะเสื่อมเร็ว
         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif การใช้ข้อเข่า ผู้ที่นั่งยอง ๆ นั่งขัดขัดสมาธิ หรือนั่งพับเพียบนาน ๆ จะพบข้อเข่าเสื่อมเร็ว
         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่า ไม่ว่าจะกระดูกข้อเข่าแตกหรือเอ็นฉีก จะเกิดข้อเข่าเสื่อได้
         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif 
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูก ผู้ที่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และได้รับแคลเซียมในปริมาณที่พอเพียงจะชะลอการเสื่อมของเข่า





แพทย์จะวินิจฉัยข้อเข่าเสื่อมได้อย่างไร

             หากท่านมีอาการปวดเข่าเรื้อรัง เมื่อไปพบแพทย์หากสงสัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมแพทย์ก็จะมีขั้น ตอนการวินิจฉัย  ดังนี้

           1.  การเจาะเลือด การเจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยแยกโรค ที่อาจจะเป็นสาเหตุของโรคปวดเข่าเรื้อรังเช่น โรคเกาต์ หรือโรครูมาตอยด์
         2. ซักประวัติและตรวจร่างกาย โดยเน้นที่การตรวจข้อเข่า ซึ่งอาจจะพบลักษณะที่สำคัญคือ ข้อบวม หรือขนาดข้อใหญ่และมีการงอของข้อเข่าการถ่ายภาพรังสี ก็จะพบว่าช่องว่างระหว่างกระดูกเข่าแคบลง ซึ่งหมายถึงกระดูกอ่อนมีการสึกหรอ หากสึกมากก็ไม่พบช่องว่างดังกล่าว
        3. การตรวจความหนาแน่นของกระดูก เป็นการตรวจหาโรคกระดูกพรุน


         คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gif4. 
การตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่า ในกรณีที่เข่าบวม แพทย์จะเจาะเอาน้ำหล่อเลี้ยงเข่าออกมาตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์
        ผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare)   สามารถป้องกันและแก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริงการป้องกันข้อเสื่อม ผู้ป่วยควรรู้จักการปฏิบัติตัวที่จะไม่ทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น เช่น การวิ่ง นังพับเพียบในรายที่มีข้อเข่าเสื่อม หลีกเลี่ยงการยกของหนัก ในรายที่อ้วยมาก ก็ช่วยลดแรงน้ำหนักตัวที่กระทำต่อข้อได้เช่นกัน นอกจากนี้การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น ไม้เท้า จะช่วยลดการถ่ายแรงที่กระทำต่อข้อของขาได้

          จ้อนท์แคร์(jontkare) เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน 100% เห็นผลจริง รวดเร็ว ชัดเจน จึงขายดีที่สุดในขณะนี้
คำอธิบาย: http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/48be2683.gifผลิตภัณฑ์ จ้อนท์แคร์(jontkare) สามารถป้องกันและปก้ปัญหาโรคข้อเสื่อม ได้ผลจริง
อย. 13-1-02950-1-0014
ปริมาณและราคา 
               1 ขวดบรรจุ 30 เม็ด ราคา 1,320 บาท
ดูข้อมูลที่   http://jontkare-mirvalai.blogspot.com

สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ    โทร.     082-0571981,
                                                    097-3983248
ID Line : valai1981
อีเมล์  : kprimss@gmail.com     









  
 









         

       

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น