จะอยู่อย่างไรให้พ้นภัยโรคข้อเสื่อม
โรคข้อเสื่อม เป็นผลมาจากวัยและการใช้งาน
แต่ก็ใช่ว่าจะ ไม่มีทางหลีกเลี่ยง มีข้อแนะนำหลายประการที่จะช่วยให้คุณเคลื่อนไหวได้อย่างไร้กังวลแม้อายุจะเพิ่มมากขึ้น
ปัจจุบันมีคนไทยเป็นโรคข้อเสื่อม
กระดูกพรุนมากถึง 7 ล้านคน โดยมักพบในผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปและผู้สูงอายุ ที่สำคัญ จำนวนตัวเลขดังกล่าวมีแต่จะเพิ่มขึ้น
เนื่องจากจำนวนผู้สูงอายุที่มีมากขึ้นนั่นเอง
โรคข้อเสื่อม เป็นอาการที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนที่ฉาบผิวกระดูกข้อต่อไว้ไม่ให้มีการเสียดสีกันเมื่อเคลื่อนไหว ซึ่งเมื่อเราเคลื่อนไหวร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นการลุก นั่ง ยืน หรือเดิน ข้อต่อจะทำงานสอดประสานกันอย่างต่อเนื่อง แต่เมื่อกระดูกอ่อนผุพังหรือบางลง กระดูกข้อต่อก็จะเสียดสีกันจนเป็นผลให้เกิดการอักเสบ ซึ่งผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บปวดบริเวณข้อต่อจนไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตามปกติ และส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมาก
การหลีกเลี่ยงอาการปวดข้อนั้นไม่ใช่เรื่องยากเลย หากคุณดูแลร่างกายเป็นอย่างดี และนี่คือ 4 วิธี ที่จะช่วยให้คุณห่างไกลจากโรคข้อเสื่อม
1. ปรับเปลี่ยนอิริยาบท “น้ำหนักน้อยก็ใช่ว่าจะไม่เป็นโรคข้อ หากทำอะไรที่ผิดท่า
ไม่ว่าจะชอบนั่งยอง ๆ นั่งกับพื้น ผุดลุกผุดนั่งบ่อย ๆ หรือการขึ้นบันไดเป็นประจำ เหล่านี้ก็ทำให้ข้อเข่าเสียได้บางคนชอบยืนทิ้งน้ำหนักข้างเดียวซึ่งเป็นการสร้างภาระให้กับข้อข้างนั้นแทนที่จะลงน้ำหนักสองขาเท่า
ๆ กัน อย่างนี้เป็นต้น”
การนั่งอยู่กับที่เป็นเวลานาน เช่น นั่งหลังงอและก้มคอทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันหลายชั่วโมงก็เป็นผลเสียต่อข้อต่อบริเวณคอ และกระดูกสันหลังส่วนเอวเช่นกัน ควรนั่งให้ถูกต้องโดยการนั่งพิงพนักเก้าอี้ และไม่ควรก้มคอนาน ๆ นอกจากนั้นทางที่ดี ควรหาโอกาสขยับตัว โดยลุกขึ้นมาเดินบ้าง ยืดแขนยืดขาบ้างเพื่อเป็นการบริหารข้อต่อ
2. ควบคุมน้ำหนัก หนึ่งในสาเหตุใหญ่ของอาการข้อเสื่อมก็คือ การที่มีน้ำหนักตัวเกิน หรืออ้วน เพราะยิ่งน้ำหนักตัว มากเท่าไร ข้อต่าง ๆ ในร่างกายก็ยิ่งต้องรับภาระมากเท่านั้น โดยเฉพาะข้อเข่า สะโพก และ หลัง ที่เป็นกำลังหลักในการรับน้ำหนักของร่างกาย
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและการควบคุมน้ำหนักจึงเป็นการทนุถนอมข้อกระดูกทางหนึ่ง โดยเฉพาะการออกกำลังกายแบบแอโรบิคที่ช่วยเผาผลาญพลังงานได้เป็นอย่างดี แต่หากผู้ป่วยกังวล ว่าการออกกำลังกายจะเป็นอันตรายต่อข้อกระดูก ก็ควรเลือกประเภทของการออกกำลังกายที่ข้อไม่ต้องแบกรับภาระมากนัก เช่น ว่ายน้ำ การเดินในน้ำ เดิน หรือปั่นจักรยาน (ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง)
3. เสริมสร้างกล้ามเนื้อ แม้ว่าการออกกำลังกายจะเป็นสิ่งดี แต่หากออกกำลังกายหนักเกินไป ก็จะเป็นการสร้างภาระให้กับข้อกระดูกได้ โดยจะเห็นได้จากนักกีฬาอาชีพ ซึ่งมักมีปัญหาข้อกระดูกเสื่อมอย่างรวดเร็ว
ทั้งนี้ การป้องกันโรคข้อเสื่อมจากการออกกำลังกายสามารถทำได้โดยการเสริมสร้างกล้ามเนื้อ เพราะกล้ามเนื้อเป็นส่วนสำคัญในการแบ่งเบาภาระต่าง ๆ ของข้อต่อเมื่อร่างกายเคลื่อนไหวรุนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อบริเวณเอ็นข้อต่อซึ่งเป็นจุดสำคัญของการออกกำลังแทบทุกประเภท นอกจากนี้ การมีกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลังที่ดีจะทำให้หมอนรองกระดูกสันหลังรับภาระน้อยลง ซึ่งลดความเสี่ยงต่อความเสื่อมได้มาก อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะเริ่มฝึกกล้ามเนื้อใด ๆ ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อไม่ให้การ ฝึกฝนนั้นไปสร้างภาระให้กับข้อกระดูก
4. อาหารและยา การรับประทานยาจำพวก กลูโคซามีน และคอนโดรอิทีน ซึ่งเชื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างน้ำไขข้อและกระดูกอ่อนเคลือบผิวข้อได้ แต่ไม่ยืนยันว่าได้ประโยชน์มากเท่าใด ทั้งนี้ต้องใช้ในกรณีที่ข้อเสื่อมอยู่ในระยะแรกๆ เท่านั้น
ในส่วนของยานั้น หลีกเลี่ยงการใช้ยาบางชนิดบ่อยเกินความจำเป็น
เพราะอาจมีผลต่อข้อกระดูก “สเตียรอยด์แบบฉีดเพื่อลดการอักเสบของข้อนั้น
ถ้าใช้บ่อย ๆ ก็ทำให้ข้อเสียได้
แต่ถ้าเป็นสเตียรอยด์แบบรับประทานก็จะไม่มีผลต่อข้อ
แต่มีผลต่อกระดูกโดยรวมเพราะจะทำให้กระดูกบางลง”
การนั่งอยู่กับที่เป็นเวลานาน เช่น นั่งหลังงอและก้มคอทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันหลายชั่วโมงก็เป็นผลเสียต่อข้อต่อบริเวณคอ และกระดูกสันหลังส่วนเอวเช่นกัน ควรนั่งให้ถูกต้องโดยการนั่งพิงพนักเก้าอี้ และไม่ควรก้มคอนาน ๆ นอกจากนั้นทางที่ดี ควรหาโอกาสขยับตัว โดยลุกขึ้นมาเดินบ้าง ยืดแขนยืดขาบ้างเพื่อเป็นการบริหารข้อต่อ
2. ควบคุมน้ำหนัก หนึ่งในสาเหตุใหญ่ของอาการข้อเสื่อมก็คือ การที่มีน้ำหนักตัวเกิน หรืออ้วน เพราะยิ่งน้ำหนักตัว มากเท่าไร ข้อต่าง ๆ ในร่างกายก็ยิ่งต้องรับภาระมากเท่านั้น โดยเฉพาะข้อเข่า สะโพก และ หลัง ที่เป็นกำลังหลักในการรับน้ำหนักของร่างกาย
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและการควบคุมน้ำหนักจึงเป็นการทนุถนอมข้อกระดูกทางหนึ่ง โดยเฉพาะการออกกำลังกายแบบแอโรบิคที่ช่วยเผาผลาญพลังงานได้เป็นอย่างดี แต่หากผู้ป่วยกังวล ว่าการออกกำลังกายจะเป็นอันตรายต่อข้อกระดูก ก็ควรเลือกประเภทของการออกกำลังกายที่ข้อไม่ต้องแบกรับภาระมากนัก เช่น ว่ายน้ำ การเดินในน้ำ เดิน หรือปั่นจักรยาน (ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง)
3. เสริมสร้างกล้ามเนื้อ แม้ว่าการออกกำลังกายจะเป็นสิ่งดี แต่หากออกกำลังกายหนักเกินไป ก็จะเป็นการสร้างภาระให้กับข้อกระดูกได้ โดยจะเห็นได้จากนักกีฬาอาชีพ ซึ่งมักมีปัญหาข้อกระดูกเสื่อมอย่างรวดเร็ว
ทั้งนี้ การป้องกันโรคข้อเสื่อมจากการออกกำลังกายสามารถทำได้โดยการเสริมสร้างกล้ามเนื้อ เพราะกล้ามเนื้อเป็นส่วนสำคัญในการแบ่งเบาภาระต่าง ๆ ของข้อต่อเมื่อร่างกายเคลื่อนไหวรุนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อบริเวณเอ็นข้อต่อซึ่งเป็นจุดสำคัญของการออกกำลังแทบทุกประเภท นอกจากนี้ การมีกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลังที่ดีจะทำให้หมอนรองกระดูกสันหลังรับภาระน้อยลง ซึ่งลดความเสี่ยงต่อความเสื่อมได้มาก อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะเริ่มฝึกกล้ามเนื้อใด ๆ ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อไม่ให้การ ฝึกฝนนั้นไปสร้างภาระให้กับข้อกระดูก
4. อาหารและยา การรับประทานยาจำพวก กลูโคซามีน และคอนโดรอิทีน ซึ่งเชื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างน้ำไขข้อและกระดูกอ่อนเคลือบผิวข้อได้ แต่ไม่ยืนยันว่าได้ประโยชน์มากเท่าใด ทั้งนี้ต้องใช้ในกรณีที่ข้อเสื่อมอยู่ในระยะแรกๆ เท่านั้น
เพิ่มคำอธิบายภาพ |
โรคข้อเสื่อม เป็นโรคข้ออักเสบที่พบได้บ่อยที่สุด และยากที่จะรักษาให้หายขาดหรือกลับคืนสู่สภาพปกติ ดังนั้นการรักษาข้อให้อยู่ในสภาพดีจึงจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นหลักประกันว่า ในวันข้างหน้าคุณจะยังคงมีคุณภาพชีวิตที่ดีเช่นเดียวกับวันนี้
จ้อนท์แคร์(jontkare) เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน
100% เห็นผลจริง รวดเร็ว ชัดเจน
จึงขายดีที่สุดในขณะนี้
อย. 13-1-02950-1-0014
อย. 13-1-02950-1-0014
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 30 เม็ด ราคา 1,320 บาท
ดูข้อมูลที่ http://jontkare-mirvalai.blogspot.com
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ
โทร. 082-0571981, 097-3983248
ID Line : valai1981
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น